 |
|
 |
Naresuan Evaluation Theory |
|
 |
|
|
Rattana Buosonte
Abstract
Naresuan Evaluation Theory has been developed from the Thai context basing on a Buddhist principle known as patija samutha baht and The six senses, pluralism, empiricism, humanism, democracy, peaceful solution or ahimsa, and good governance. The theory traces back to the original requirement of the evaluation, value assignment, criteria, and outcome of the evaluation. The discloser of the evaluation, and role of the evaluator. In addition to the theory proposing, the author had also presented the model and approach of the Naresuan Evaluation Theory which has been expanded from the Theory itself.
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
 |
Good Governance in the Thai Public Universities: A multi case study |
|
 |
|
|
Good Governance in the Thai Public Universities: A multi case study
Rattana Buosonte
rattanabb@hotmail.com
Abstract
The objective of this research was to study and compare the level of good governance concept acknowledged by the personnel in two classifications of public universities: the northern region government universities under the supervision of the former Ministry of University Affairs and Rajabhat universities in the northeastern region1. The Mixed – Method with Integrated Design was applied in this research with the emphasis firstly on the quantitative research and the qualitative research, respectively. 226 participants from the two universities carried out the semi structure interview and questionnaire. The results from the quantitative research showed that the level of good governance in both types of universities was at the medium level. Conversely, the qualitative research shown that the degree of good governance was at the low level or even lack of good governance level, especially in 3 aspects: transparency, equity, and participation. For the aspects of Autonomy, Effectiveness and Flexibility, the results were at the good level. The overall comparison in both qualitative and quantitative research showed that there were differences in some components and aspects in good governance between the two. The results obtained from this research can be applied as a guideline for better improvement on their good governance administration in the future. more...
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
 |
รายงานวิจัยเรื่อง คอรัปชั่นในวงการการศึกษาของไทย |
|
 |
|
|
รายงานวิจัยเรื่อง คอรัปชั่นในวงการการศึกษาของไทย
: กรณีศึกษาในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง
รัตนะ บัวสนธ์
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับการคอรัปชั่นในวงการการศึกษาของไทย โดยกำหนดพื้นที่ทำการศึกษาในเขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง ผู้วิจัยได้ตั้งคำถามการวิจัยไว้ 3 ประการ ได้แก่ 1) กลุ่มบุคคลในวงการการศึกษามีความคิดเห็นเกี่ยวกับการคอรัปชั่นในวงการการศึกษาอย่างไร 2) กลุ่มบุคคลในวงการการศึกษามีการให้ความหมายลักษณะการกระทำตามการจัดกลุ่มลักษณะการกระทำเป็นเช่นไร และ 3) สาเหตุ แรงจูงใจ และพฤติกรรมของบุคคลในวงการการศึกษาที่มีการคอรัปชั่น มีลักษณะอย่างไร งานวิจัยใช้ทั้งระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณ และระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
 |
วิถีของกล้วยตากในจังหวัดพิษณุโลก |
|
 |
|
|
รัตนะ บัวสนธ์ และคณะ
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องวิถีของกล้วยตากในจังหวัดพิษณุโลกครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิถีชีวิตของชุมชนที่ผลิตกล้วยตากในจังหวัดพิษณุโลก กระบวนการผลิตและจัดจำหน่ายกล้วยตากของชุมชนที่ผลิตกล้วยตากในจังหวัดพิษณุโลก และเพื่อเปรียบเทียบวิถีชีวิตชุมชน กระบวนการผลิตและจัดจำหน่ายกล้วยตากในแต่ละกรณีศึกษา โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ศึกษาค้นคว้าในแนวลึกโดยใช้แบบแผนการศึกษาพหุกรณี (Multi-Case Studies) ซึ่งแยกเป็น 2 กรณี คือกรณีกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรเกาะคู อ.บางกระทุ่ม จ.พิษณุโลก และกรณีกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรตะโม่สร้างสรรค์ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก ซึ่งวิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน คือ 1 การเลือกสนามวิจัย 2 การเตรียมตัว เข้าสนามวิจัย 3 การเข้าสนามวิจัย 4 การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล 5 การกำหนดแหล่งข้อมูล 6 เครื่องมือและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 7 การวิเคราะห์ข้อมูล และ 8 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
 |
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความสามารถ |
|
 |
|
|
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาความสามารถ ในการประเมินตามสภาพจริงของครูสังกัดสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
รศ.ดร.รัตนะ บัวสนธ์ และคณะ
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการประเมินตามสภาพจริงของครูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การวิจัยมีลักษณะเป็นการวิจัยเฉพาะกรณีโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ที่ประกอบด้วย การเลือกสนามวิจัย การเตรียมตัวเข้าสนามวิจัย การเข้าสนามวิจัย การดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยปรากฏดังนี้ 1. lสภาพและปัญหาการประเมินตามสภาพจริงของครูในโรงเรียนก่อนการวิจัยอยู่ในลักษณะที่ครูส่วนใหญ่ขาดความรู้ ความเข้าใจและขาดทักษะ โรงเรียนไม่มีแนวทางในการปฏิบัติและขาดหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลที่ถูกต้อง 2. ภายหลังจากการใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม พบว่าครูมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริงที่ชัดเจน มีทักษะและมีเจตคติที่ดีต่อการประเมินตามสภาพจริงเพิ่มขึ้น แต่มีปัญหาเกี่ยวกับเวลาที่ใช้ในการให้ความรู้กับครูมีจำกัด ครูมีภารกิจหลายอย่างไม่สามารถเข้ามีส่วนร่วมได้อย่างต่อเนื่อง
|
 |
|
|
|
|
|
 |
|
 |
|
49 เรื่อง (10 หน้า, 5 เรื่องต่อหน้า)
[ 1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 | 9 | 10 ] |
|
|
|
|
| |
|